28 C
Bangkok

Articles written by:

sarapuk

124 Articles Written
11 Comments
คนที่อยากเห็น Biomedical Engineering ของประเทศไทย พัฒนาก้าวไกล
- Advertisement -

Must Read

Thailand Blog Award ประจำปี 2011 เริ่มแล้ว

ในปีที่แล้ว Biomed.in.th ได้คว้ารางวัล รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 Thailand Blog Awards 2010 ประเภท Science Blog มาครองได้(สร้างความภูมิใจ เพิ่มกำลังใจให้บล็อกนี้ยังคงอยู่ถึง ณ ตอนนี้) สำหรับปี 2011 การแข่งขันได้เริ่มขึ้นแล้วครับ

เปรียบเทียบภาพจากกล้อง Confocal กับ Wide-field Fluorescence Microscope

Confocal กับ Wide-field Fluorescence Microscope มีจุดต่างกันเล็กน้อยตรงที่กล้อง Confocal จะบีบลำแสงให้แคบลงเพื่อให้ได้ภาพเฉพาะส่วนในโฟกัส (ทำให้มองเห็นภาพในแนวลึกได้ด้วย) แต่ก็ต้องแลกมาด้วยการสร้างภาพที่ช้าลงเพราะต้องแสกนภาพทีละจุดมาประกอบเป็นหนึ่งภาพ

โปรแกรมออนไลน์ช่วยคำนวณคุณสมบัติเปปไทด์อย่างง่าย

วันนี้เราขอนำเสนอโปรแกรมออนไลน์ Peptide Property Calculator เป็นโปรแกรมที่สามารถใช้งานผ่านทางเว็บไซต์ได้เลย พัฒนาจาก Javascript เป็นโปรแกรมที่ช่วยคำนวณคุณสมบัติอย่างง่ายของเปปไทด์ เช่น ขนาด มวลโมเลกุล เป็นต้น

โปรแกรม AngioViz วิเคราะห์การไหลของหลอดเลือดผ่านการรับรองจาก FDA แล้ว

GE Healthcare ได้รับการรับรองจาก FDA ในการใช้โปรแกรมชื่อ AngioViz ที่ใช้ภาพจาก Digital Subtraction Angiography (DSA) เพื่อสร้างภาพการไหลของเลือดในหลอดเลือดในสมองหรือในอวัยวะส่วนอื่นๆในร่างกาย

แผ่นนาโนไฟเบอร์ที่อาจช่วยซ่อมแซมเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายได้

แผ่นคาร์บอนนาโนไฟเบอร์(carbon nanofiber path)ที่สามารถทำให้เกิดการสร้างเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจขึ้นมาใหม่ได้ นับเป็นอีกหนึ่งความหวังที่จะนำแผ่นนี้ไปใช้กับบริเวณที่มีเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจตายได้ในอนาคต

Phone Oximeter เชื่อม Pulse oximeter กับ iPhone

Phone Oximeter ได้ใช้เครื่อง Pulse Oximeter ที่ผ่านการพิจารณาจาก FDA แล้ว แต่นักวิจัยได้พัฒนาเครื่องให้สามารถทำงานและแสดงผลการตรวจผ่านทางหน้าจอ iPhone นอกจากจะตรวจวัดความอิ่มตัวของออกซิเจน (SpO2) ยังรายงานผลของอัตราการเต้นของหัวใจ และอัตราการหายใจ

ผลการตัดสิน โครงการประกวดภาพถ่าย “ภาพแห่งชีวิต” ครั้งที่ 3

การประกวดภาพถ่าย “ภาพแห่งชีวิต” ครั้งที่ 3 “Image of Life” The 3rd Photo Contest ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่จัดโดยคณะแพทยศาสตร์ จุฬาฯ ที่เคยนำเสนอไปใน "คณะแพทย์ จุฬาฯ จัดประกวดภาพถ่าย “ภาพแห่งชีวิต” ชิงถ้วยพระราชทาน" วันนี้เลยเอาผลการตัดสินมาฝากครับ

สายรัดวัดความดันเลือด แบบใช้ครั้งเดียวทิ้ง

การวัดความดันเลือดด้วยเครื่องอัตโนมัติ ถือว่าเป็นวิธีตรวจวัดมาตรฐานที่ทำในโรงพยาบาลหรือคลินิก เป็นวิธีที่มีความสำคัญในการรู้ถึงความดันเลือดของผู้ป่วยด้วยการตรวจวัดด้วยการรัดแขน และจุดแรกที่ต้องทำเพื่อเป็นข้อมูลสุขภาพเบื้องต้นในการวินิจฉัยโรคอื่นๆต่อไป
- Advertisement -

Editor Picks