35.2 C
Bangkok

Articles written by:

my_lungs

20 Articles Written
0 Comments
- Advertisement -

Must Read

รอยสักอิเล็กทรอนิคส์: Gadget ชิ้นใหม่สุดไฮเทค

เจมส์ บอนด์ อาจจะมีนาฬิกาที่ยิงเลเซอร์ได้ หรืออาจจะมีโทรศัพท์ในคราบของไฟแช็ค แต่ว่าเขาก็ไม่เคยมี gadget ทีเป็นรอยสักเลย

นาโนเทอร์โมมิเตอร์

เครื่องมือที่แต่ก่อนพัฒนามาใช้สำหรับควอนตัมคอมพิวเตอร์ ตอนนี้สามารถนำมาใ้ช้วัดอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงภายในเซลล์ที่มีชีวิตได้แล้ว

Abiliti เทรนด์ใหม่ลดอ้วน

Abiliti: เทรนด์ใหม่รักษาโรคอ้วนการรักษาโรคอ้วน มีหลายวิธีด้วยกัน อาทิ การผ่าตัดดูดไขมัน การผ่าตัดเย็บกระเพาะอาหาร แต่ว่า Abiliti นี่ เป็นวิธีใหม่ ในการรักษาโรคอ้วน กล่าวคือ เป็นการผ่าตัดเพื่อติดอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิค เข้าไปในช่องท้อง โดยที่อุปกรณ์ชิ้นนี้ จะควบคุมการกินอาหารของเรา โดยที่เราสามารถตั้งโปรแกรมการกินอาหารได้ เมื่อเรากินอาหารในช่วงที่ไม่ตรงกับโปรแกรมที่เราตั้งไว้ตอนต้น Abiliti จะส่งสัญญาณไปยังกระเพาะอาหาร แล้วกระเพาะอาหารก็จะส่งสัญญาณไปยังสมองอีกต่อหนึ่ง เพื่อบอกว่า เราอิ่มแล้ว...

iKnife: มีดมีจมูก

จะเกิดอะไรขึ้นถ้าหากศัลยแพทย์ไม่สามารถบอกได้ว่า ขอบเขตของเนื้อเยื่อที่เป็นมะเร็งมีมากน้อยแค่ไหน ถ้าหากเขาตัดเนื้อร้ายทิ้งมากเกินไป

ไรโบโซมกล

นี่เครื่องกลขนาดเล็กที่ทำหน้าที่ต่อกรดอะมิโนเข้าด้วยกันตามลำดับที่กำหนดไว้ก่อนแล้ว โดยที่มันเลียนแบบการทำงานมาจากไรโบโซม

เมื่อ FDA รับรองการผ่าตัดปลูกถ่ายเรตินา

ความหวังของผู้ป่วยที่ความผิดปกติทางพันธุกรรมทางสายตาเริ่มสดใส เมื่อองค์การอาหารและยาของสหรัฐใด้รับรองการผ่าตัดปลูกถ่ายเรตินา

วิศวกรรมเนื้อเยื่อ: เราจะประดิษฐ์หัวใจได้อย่างไร

มีคนจำนวนนับพันที่ต้องการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ซึ่งนี่เองที่ทำให้นักวิจัยพยายามเพาะเลี้ยงหัวใจขึ้นมาให้ได้https://www.youtube.com/watch?v=pd3TFB0wOI0วิดีโอแสดงวิธีการเพาะเลี้ยงหัวใจ: Harald Ott และคณะได้ทดสอบความทนทานของส่วนต่างๆ ของหัวใจสร้างขึ้นมาดอริส เทเลอร์ (Doris Taylor) เธอไม่ได้รู้สึกเลยว่าเธอเองถูกต่อว่าเมื่อใครๆ รอบๆ ตัวเธอต่างก็เรียกเธอเรียกว่า ดร.แฟรงเกนสไตน์ “จริงๆ แล้ว ฉันถือว่ามันเป็นคำชมที่ยิ่งใหญ่มากที่ฉันเคยได้รับมากต่างหาก” ซึ่งยืนยันจากงานวิจัยของเธอที่ได้เพิ่มขอบเขตของคำว่า “เป็นไปได้” จากงานที่เธอเป็นนักวิจัยด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูที่ สถาบันหัวในเทกซัส เธอยอมรับว่าการเปรียบเทียบเธอกับ ดร.แฟรงเกนสไตน์ เป็นเรื่องที่เหมาะสมแล้ว เพราะว่าปกติแล้ว...

อนุภาคนาโน: สองหมัดน๊อคมะเร็ง

อนุภาคนาโนถูกใช้เพื่อผลลัพท์ของการนำส่งยาไปยังเซลล์มะเร็งที่ดีขึ้นด้วยการใช้ประโยชน์จากระบบจากจับตัวของเลือดในร่างกาย นักวิจัยได้ออกแบบอนุภาคนาโนที่สามารถค้นหาเซลล์เนื้อร้าย และหลังจากนั้นก็ส่งสัญญาณเรียกอนุภาคนาโนอีกชนิดหนึ่งเพื่อขนส่งยามาฆ่าเซลล์มะเร็งได้ถูกที่Sangeeta Bhatia นักชีววิศวกรรม แห่งมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี่แมสซาซูเสตต์ และเพื่อนร่วมงานของเธอพบว่า เธอสามารถเพิ่มปริมาณยาที่ส่งไปยังเซลล์มะเร็งในหนูได้ถึง 40 เท่าเทียบกับกลุ่มควบคุม เมื่อใช้อนุภาคนาโนสองชนิดร่วมกัน ซึ่งเซลล์เนื้องอกในกลุ่มที่ใช้อนุภาคนาโนสองชนิดหยุดการเจริญเติบโตทันที ในขณะที่หนูกลุ่มที่ได้รับอนุภาคนาโนเพียงแค่หนึ่งชนิด เซลล์เนื้องอกก็ยังสามารถเจริญเติบโตได้ต่อไปได้ทีมของ Bhatia ได้รับแรงบันดาลใจมาจากความสามารถของระบบการจับตัวเป็นลิ่มของเลือดเพื่อเพิ่มการตอบสนองที่มากขึ้นที่บริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ การจับตัวเป็นลิ่มของเลือดเกิดจากปฏิกิริยาต่อเนื่องที่นำไปสู่โครงสร้างที่ประสานกันของโปรตีนที่ชื่อว่า ไฟบรินทีมนักวิจัยได้ออกแบบอนุภาคนาโนที่ได้อาศัยปฏิกิริยาต่อเนื่องของการจับตัวเป็นลิ่มของเลือด “เราใช้กระบวนการขยายสัญญาณโดยธรรมชาติของร่างกายเพื่อที่จะให้ยาตรงไปสู่เป้าหมายได้มากขึ้น” Bhahia กล่าว ซึ่งงานวิจัยชี้นนี้ได้ตีพิมพ์ในนิตยสาร Nature material...
- Advertisement -

Editor Picks

- Advertisement -