Immunology

ทำไมเราเปรียบเทียบประสิทธิภาพวัคซีนโควิด-19 จากแต่ละบริษัทไม่ได้?

, , 1 Comment

ถ้าต้องการวัดประสิทธิภาพของวัคซีนจริง ต้องทำการทดสอบในสถานการณ์เดียวกัน จำนวนประชากร เวลาเดียวกัน

Read Post →

โควิดกับการตั้งครรภ์: ข้อมูลที่มีล่าสุดบอกอะไรบ้าง?

, , No Comment

จากการเก็บข้อมูลการวิจัยของกลุ่มต่างๆ ทั่วโลกพบว่าหญิงตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อไวรัสโควิด-19 มีความเสี่ยงสูงที่จะมีอาการรุนแรงมากกว่าผู้หญิงในวัยเดียวกันที่ไม่ได้ตั้งครรภ์

Read Post →

ยา Tamoxifen และกลไกการออกฤทธิ์

, , No Comment

ยา Tamoxifen ที่เข้าสู่ร่างกาย 50-80% จะถูกเมตาบอไลท์เป็น N-desmethyl tamoxifen ระดับยาในกระแสเลือดจะคงตัว (Steady state) หลังจากได้รับยาต่อเนื่องเป็นเวลา 3-4 สัปดาห์ ยาส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางอุจจาระอย่างช้าๆ และขับออกทางปัสสาวะเพียงเล็กน้อย

Read Post →

รางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ปี 2011

, , No Comment

บรูซ เอ.บิวท์เลอร์ (Bruce A. Beatler), จูลส์ เอ.ฮอฟฟ์มันน์ (Jules A. Hoffmann) และ ราล์ฟ เอ็ม.สไตน์มาน (Ralph M. Steinman) ผู้ที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ ปี 2011

Read Post →

Aptamer คู่แข่งรายใหม่ของ antibody

, , 1 Comment

Aptamer คือ DNA หรือ RNA สายเดี่ยว ที่สามารถจับกับโมเลกุลเป้าหมายได้อย่างจำเพาะ โดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในโครงสร้าง 3 มิติ เพื่อจับกับโมเลกุลเป้าหมาย Aptamer สามารถจับกับโมเลกุลต่างๆ ได้หลากหลาย

Read Post →

การตรวจสอบการปฏิเสธอวัยวะสามารถตรวจสอบได้จากการทดสอบเลือด

ตรวจหาการปฏิเสธอวัยวะ

, , No Comment

การปฏิเสธ เป็นอะไรที่เจ็บปวด แต่สำหรับผู้ป่วยที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะมันเป็นอะไรที่มากกว่าเรื่องทางความรู้สึก แต่มันสำคัญถึงชีวิตทั้งชีวิตเลยทีเดียว การรอคอยอวัยวะใหม่ที่ยาวนานเป็นเดือน บางครั้งก็เป็นปี จากผู้บริจาค และยังต้องมีชีวิตรอดจากการผ่าตัดครั้งใหญ่ สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะยังคงต้องต่อสู้กับระบบภูมิคุ้มกันของตัวเองไม่ให้ปฏิเสธอวัยวะชิ้นใหม่ที่ได้รับมาอีกด้วย

Read Post →

ซวยซ้ำสองของ HIV

, , No Comment

โมเลกุลของ RNA ถูกปรับแต่งให้สามารถที่จะจู่โจม HIV ได้ จากสองทางกำลังแสดงผลที่เป็นบวก จากการศึกษาที่ได้รับการตีพิมพ์ในนิตยสาร Science Translational Medicine [1] นักวิจัยกล่าวว่า โมเลกุลที่สามารถที่จะควบคุมกำจำลองตัวเองของไวรัสภายในเซลล์ที่ติดเชื้อ และทำให้ไวรัสที่ล่องลอยอยู่เป็นกลาง

Read Post →

เลือดบอกอายุ

, , No Comment

นึกถึงฉากบ้านพักคนชรา และมีชายสูงอายุผู้หนึ่งนอนจมกองเลือดอยู่ ซึ่งนักสืบกำลังหาร่องรอยเลือดแปลกปลอมเพราะคิดว่าจะต้องเกิดการต่อของเหยื่อกับฆาตกร ซึ่งอาจจะเป็นชายชราที่อยู่ด้วยกัน หรือพยาบาลที่ดูแลอยู่ หรือคนอื่น นักสืบได้ตัวอย่าเลือดแปลกปลอมเพียงน้อยนิด แต่หลังจากได้วิเคราะห์เลือดนั้นแล้ว ก็ปรากฏว่า ผู้ต้องสงสัยเป็นคนที่มีอายุอยู่ในช่วง 20 – 30 ปี

Read Post →

ภูมิต้านทาน HIV ทั้งหมดอยู่ที่กรดอะมิโน

, , No Comment

จากการศึกษาพบกว่า เพียงแค่กรดอะมิโนเพียงไม่กี่ตำแหน่ง ก็จะบอกได้ว่า ผู้ที่ติดเชื้อ HIV นั้น จะมีพัฒนาการไปสู่การเป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือไม่

Read Post →

สารเคลือบเครื่องมือแพทย์ระดับนาโน ป้องกันและทำลายเชื้อแบคทีเรีย

, , 1 Comment

สารเคลือบผิวดังกล่าวผลิตขึ้นจาก คาร์บอนนาโนทิวป์ที่มีเอนไซม์ไลโซสเตฟิน(carbon nanotubes with lysostaphin) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่สร้างจากเชื้อ Staphylococus spp. ที่ไม่ก่อโรค แต่สามารถป้องกันและทำลายเชื้อ Staphylococcus aureus ที่เป็น MRSA ได้

Read Post →