35.6 C
Bangkok

Research

- Advertisement -

Most Commented

ตัวตรวจวัดระดับน้ำตาลชนิดฝังในร่างกาย

ระบบนี้ใช้ ไฮโดรเจล ที่พัฒนาขึ้น เป็นตัวสำคัญในการตรวจวัด ซึ่งเมื่อใช้แสงส่องผ่านเพื่อกระตุ้น ไฮโดรเจลจะเปล่งออกมา(emitted light) โดยความเข้มแสงจะเปลี่ยนแปลงตามความเข้มข้นของน้ำตาลในกระแสเลือด โดยสามารถตรวจวัดได้จากภายนอกผิวหนัง

รวม 10 เว็บไซต์ เรียนรู้วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอนที่ 2

เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับวิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีอยู่มากมาย ผมได้รวบรวมไว้ 10 เว็บไซต์ที่น่าสนใจไว้ในตอนที่ 1 ใครยังไม่ได้อ่านตามไปอ่านที่ตามลิงค์ วันนี้จึงเขียนรวบรวมอีกครั้ง ใครที่สนใจความรู้ทางด้านนี้จะได้ติดตามอ่าน

IBM สร้างแผนที่เชื่อมโยงการทำงานส่วนต่างๆ ของสมอง

งานวิจัยนี้จะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สามารถวิเคราะห์ และเพิ่มความเข้าใจขั้นตอนการทำงานอันซับซ้อนของสมองได้ยิ่งมากขึ้น และข้อมูลนี้จะนำไปสู่การพัฒนาสมองกล คอมพิวเตอร์ โปรแกรม ระบบค้นหา ที่ซับซ้อนและฉลาดมากยิ่งขึ้นได้ในอนาคต

รถวีลแชร์ ควบคุมด้วยลมหายใจ

นักวิจัยจากศูนย์ Weizmann Institute ประเทศอิสราเอล ได้พัฒนาเครื่องควบคุมรถวีลแชร์ด้วยลมหายใจ เป็นการออกแบบเพื่อช่วยผู้พิการขั้นรุนแรง งานวิจัยนี้ได้รับการเผยแพร่ Proceedings of the National Academy of Sciences ประเทศอเมริกา(PNAS)

เครื่องตรวจวัดและควบคุมระดับน้ำตาลในเวลาจริง(Real-Time)

ผลการศึกษานี้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร the New England Journal of Medicine เป็นการศึกษาการระบบควบคุมระดับน้ำตาลในเวลาจริง(continuous blood glucose monitoring system) ของผู้ป่วยเบาหวาน ชนิดที่ 1 ตัวเซนเซอร์ที่ใช้ตรวจวัดเป็นแบบวัดใต้ผิวหนัง (subcutaneous sensor) เชื่อมต่อกับตัวรับสัญญาณแบบไร้สาย

นักวิจัยฝรั่งเศสรายงานวิธีตรวจกรุ๊ปเลือดแบบใหม่

นักวิจัยฝรั่งเศสได้รายงานวิธีตรวจกรุ๊ปเลือดแบบใหม่ที่รวดเร็วขึ้น สำหรับเลือดที่ได้บริจาคเพื่อนำไปให้คนไข้ที่ต้องการเลือด เพื่อความถูกต้องและความเข้ากันได้ระหว่างเลือดของผู้บริจาคกับผู้รับบริจาค ซึ่งเป็นเรื่องที่สำคัญมาก วิธีตรวจแบบใหม่เรียกว่า HiFi-Blood 96

รวม 10 เว็บไซต์ เรียนรู้วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาตร์สุขภาพ มีอยู่มากมาย ให้เราเลือกติดตามอ่าน ผมจะขอแนะนำเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีทั้งที่เป็นข่าวสารอัพเดตทุกวัน และเนื้อหาเพื่อการเรียนรู้เป็นเรื่องๆตามที่เราสนใจ

การตอบสนองต่อวัคซีนขึ้นกับเพศของเรา

แน่นอนว่าทุกท่านที่เข้ามาอ่านคงเคยฉีดวัคซีนมาแล้วอย่างแน่นอน แต่ทราบหรือไม่ว่าเราจะตอบสนองวัคซีนนั้นๆ ได้ขนาดไหน ไม่ได้ขึ้นอยู่กับสุขภาพ ณ ขณะนั้นเพียงอย่างเดียว แต่อาจขึ้นอยู่กับเพศของเราด้วย
- Advertisement -

Editor Picks