30.6 C
Bangkok
หน้าแรก แท็ก วิศวกรรม

วิศวกรรม

- Advertisement -

Must Read

วิศวกรรมเนื้อเยื่อ: เราจะประดิษฐ์หัวใจได้อย่างไร

มีคนจำนวนนับพันที่ต้องการผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ ซึ่งนี่เองที่ทำให้นักวิจัยพยายามเพาะเลี้ยงหัวใจขึ้นมาให้ได้https://www.youtube.com/watch?v=pd3TFB0wOI0วิดีโอแสดงวิธีการเพาะเลี้ยงหัวใจ: Harald Ott และคณะได้ทดสอบความทนทานของส่วนต่างๆ ของหัวใจสร้างขึ้นมาดอริส เทเลอร์ (Doris Taylor) เธอไม่ได้รู้สึกเลยว่าเธอเองถูกต่อว่าเมื่อใครๆ รอบๆ ตัวเธอต่างก็เรียกเธอเรียกว่า ดร.แฟรงเกนสไตน์ “จริงๆ แล้ว ฉันถือว่ามันเป็นคำชมที่ยิ่งใหญ่มากที่ฉันเคยได้รับมากต่างหาก” ซึ่งยืนยันจากงานวิจัยของเธอที่ได้เพิ่มขอบเขตของคำว่า “เป็นไปได้” จากงานที่เธอเป็นนักวิจัยด้านเวชศาสตร์ฟื้นฟูที่ สถาบันหัวในเทกซัส เธอยอมรับว่าการเปรียบเทียบเธอกับ ดร.แฟรงเกนสไตน์ เป็นเรื่องที่เหมาะสมแล้ว เพราะว่าปกติแล้ว...

งานแสดงเทคโนโลยีวิศวกรรมชีวการแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล

มีข่าวประชาสัมพันธ์งานแสดงเทคโนโลยีวิศวกรรมชีวการแพทย์ ที่น่าสนใจมาบอกกล่าวครับ งานเปิดโลกวิศวกรรมชีวการแพทย์ จัดที่ Digital Gateway (สยาม) ตึกติดกับ BTS สถานีสยาม งานจัดในวันที่ 26-27 กุมภาพันธ์ 2554 เป็นงานแสดงเทคโนโลยีทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ จากห้องวิจัยทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ของมหาวิทยาลัยมหิดล

ทำความรู้จัก Strain Gauge, Piezoelectric และ Accelerometer

พอจะแนะนำได้ไหมค่ะ เว็บที่ใช้ข้อมูล เกี่ยว strain gauge transducer ที่นำมาใช้ ทางคลินิก แล้ว foot switch นี่เป็น sensor แบบไหน strain gauge หรือ piezoelectric sensor แล้ว accelerometer เป็น sensor แบบไหน ใช่ piezoelectric sensor หรือเปล่า สับสน

หนังสือ วิศวกรรมชีวการแพทย์ขั้นพื้นฐาน

เมื่อวันก่อนเดินไปศูนย์หนังสือจุฬาฯ เจอหนังสือคู่มือด้าน วิศวกรรมชีวการแพทย์ ในปกเขียนว่า ฉบับภาษาไทยเล่มแรก ซึ่งเป็นจริงดังนั้นเพราะไม่เคยเห็นฉบับภาษาไทยที่ไหนมาก่อนเลย แสดงว่าศาสตร์ด้านนี้ยังไม่เป็นที่รู้จักมากนัก จึงซื้อมาดูว่าเนื้อหาภายในเป็นยังไงบ้าง และนำมาแนะนำให้ผู้ที่สนใจ อยากหามาศึกษา

Microneedles เข็มขนาดจิ๋ว ส่งสารละลายเข้าสู่ใต้ผิวหนัง

ทีมวิจัยจาก North Carolina State University ได้สร้างเข็มขนาดจิ๋วระดับไมโครเมตร(microneedles) เพื่อใช้ในการรักษาที่ต้องการส่งผ่านสารต่างๆผ่านผิวหนัง หรือการให้สารสีในระดับนาโมเมตรผ่านผิวหนัง ที่เรียกว่า ควอนตัมดอท(quantum dots) วิธีการใหม่นี้จะช่วยให้แพทย์สามารถวินัจฉัยและรักษาโรคต่างๆได้หลากหลาย

รวม 10 เว็บไซต์ เรียนรู้วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ ตอนที่ 2

เว็บไซต์ที่เกี่ยวกับวิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ มีอยู่มากมาย ผมได้รวบรวมไว้ 10 เว็บไซต์ที่น่าสนใจไว้ในตอนที่ 1 ใครยังไม่ได้อ่านตามไปอ่านที่ตามลิงค์ วันนี้จึงเขียนรวบรวมอีกครั้ง ใครที่สนใจความรู้ทางด้านนี้จะได้ติดตามอ่าน

รวม 10 เว็บไซต์ เรียนรู้วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาสตร์สุขภาพ

แหล่งข้อมูลเกี่ยวกับ วิศวกรรมชีวเวช และวิทยาศาตร์สุขภาพ มีอยู่มากมาย ให้เราเลือกติดตามอ่าน ผมจะขอแนะนำเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีทั้งที่เป็นข่าวสารอัพเดตทุกวัน และเนื้อหาเพื่อการเรียนรู้เป็นเรื่องๆตามที่เราสนใจ

Nanopatch อนาคตของการให้วัคซีน ที่ง่ายและประหยัด

เมื่อเทียบการให้วัคซีนแบบฉีดในปัจจุบันกับการใช้ nanopatch แล้วมันจะมีราคาถูกกว่ามาก และใช้งานง่ายเป็นโยชน์กับกลุ่มที่เป็นโรคกล้วเข็มฉีดยา หรือเด็กเล็ก การจัดส่งวัคซีนไปในบริเวณที่มีการระบาดของโรคทำได้ง่ายขึ้น ไม่ต้องแช่เย็น หรืออาจส่งไปทางไปรษณีย์แบบธรรมดาได้เลย
- Advertisement -

Editor Picks