เอาข่าวงานสัมมนามาฝากทุกท่านครับ เก…
Tagged By โรคมะเร็ง
อนุภาคนาโน: สองหมัดน๊อคมะเร็ง
อนุภาคนาโนถูกใช้เพื่อผลลัพท์ของการน…
บัญชีสารก่อมะเร็ง
คณะกรรมการจากองค์การอนามัยโลก (Worl…
จีโนมมะเร็งต่อมลูกหมาก เผยความพิศวงของยีน
เกือบจะ 10 ปีแล้วหลังจากที่จีโมมของมนุษย์ได้ถูกถอดรหัสเสร็จสิ้น เป็นครั้งแรกที่นักวิจัยได้เปิดเผยโฉมของจีโนมเนื้องอกที่ต่อมลูกหมาก ผลได้ถูกตีพิมพ์ลงในนิตยสาร Nature [1] ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็งชนิดนี้
เทคนิคการถ่ายภาพแบบใหม่ ที่สามารถติดตามโรคในสมองระดับลึกได้
กวิจัยได้พัฒนาเทคนิคใหม่สำหรับการติดตามดูสมองในระดับลึกของหนูเพื่อดูการทำงานของประสาทแบบในเวลาจริง วิธีการซึ่งแตกต่างจากวิธีมาตรฐานช่วยให้สามารถติดตามตำแหน่งเดียวกันในสมองได้นานเป็นเดือน ทำให้ได้ข้อมูลใหม่ๆในโรคมะเร็ง โรคทางด้านประสาท หรือปัจจัยที่จะทำให้เกิดอาการบาดเจ็บ
เทโลเมอร์เรส ย้อนอายุ
จาการศึกษาในหนูพบว่า การแก่ก่อนวัยสามารถย้อนกลับเป็นหนุ่มสาวอีกครั้งได้จากเอ็นไซม์ที่ช่วยปกป้องปลายของโครโมโซม หนูที่ถูกดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อไม่ให้มีเอ็นไซม์ที่ชื่อว่า เทโลเมอร์เรส ซึ่งทำให้มันแก่ก่อนวัยอันควร แต่ว่ามันกลับมามีสุขภาพดีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเอ็นไซม์ตัวนี้กลับมา
สุดยอดเว็บนำเสนอการเจริญเติบโตของมะเร็ง ในแบบ 3 มิติ
http://angiogenesis.amgen.com เป็นเว็บไซต์แสดงกระบวนการ Angiogenesis ในแบบ 3 มิติ เนื้อหาของเว็บไซต์นำเสนอทั้งภาพแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ภาพนิ่งที่เลือนซ้าย-ขวา และวีดีโอ ผมได้ทดลองดูด้วยแว่น 3 มิติ พบว่าภาพสวยและมองเป็นภาพเป็นมิติอย่างสวยงาม ได้ประสบการณ์ที่ดีมาก อยากให้ใครที่มีแว่นสามมิติอยู่ที่ตัวลองหยิบขึ้นมาดู
รักษามะเร็งต่อมลูกหมากด้วยวัคซีน ได้รับอนุญาติแล้วในอเมริกา
Provenge เป็นการรักษามะเร็งต่อมลูกหมากด้วยวัคซีนที่ผลิตจากเซลล์ของผู้ป่วยเอง (autologous cellular immunotherapy) การใช้วัคซีนในการต้านมะเร็งต่อมลูกหมากกำลังจะถูกนำมาใช้ หลังจากได้รับอนุญาติแล้วในอเมริกา
อาชีพเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญของการเป็นมะเร็งปอดในผู้ชาย
การสูบบุหรี่ คือ ปัจจัยสำคัญของการเกิดมะเร็งปอด นอกจากนี้สารเคมีต่างๆในที่ทำงาน ก็เป็นอีกปัจจัยเสี่ยงในการก่อโรคมะเร็งปอดเช่นกัน ผลงานวิจัยพบว่า ประมาณ 5% ของผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดที่เป็นผู้ชาย มีความเกี่ยวข้องกับอาชีพที่ทำอยู่
เชื้อไวรัสดัดแปลงอาจฆ่าเซลล์มะเร็งได้
นักวิทยาศาสตร์แห่งมหาวิทยาลัยลีดส์ (University of Leeds) ประเทศสหราชอาณาจักรกล่าวว่า ไวรัสสามารถถูกนำมาดัดแปลงเพื่อใช้ในการค้นหาและทำลายเซลล์มะเร็งได้