37.7 C
Bangkok

Science

- Advertisement -

Most Commented

ตรวจหาการปฏิเสธอวัยวะ

การปฏิเสธ เป็นอะไรที่เจ็บปวด แต่สำหรับผู้ป่วยที่ต้องผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะมันเป็นอะไรที่มากกว่าเรื่องทางความรู้สึก แต่มันสำคัญถึงชีวิตทั้งชีวิตเลยทีเดียว การรอคอยอวัยวะใหม่ที่ยาวนานเป็นเดือน บางครั้งก็เป็นปี จากผู้บริจาค และยังต้องมีชีวิตรอดจากการผ่าตัดครั้งใหญ่ สำหรับผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะยังคงต้องต่อสู้กับระบบภูมิคุ้มกันของตัวเองไม่ให้ปฏิเสธอวัยวะชิ้นใหม่ที่ได้รับมาอีกด้วย

จีโนมมะเร็งต่อมลูกหมาก เผยความพิศวงของยีน

เกือบจะ 10 ปีแล้วหลังจากที่จีโมมของมนุษย์ได้ถูกถอดรหัสเสร็จสิ้น เป็นครั้งแรกที่นักวิจัยได้เปิดเผยโฉมของจีโนมเนื้องอกที่ต่อมลูกหมาก ผลได้ถูกตีพิมพ์ลงในนิตยสาร Nature [1] ซึ่งจะนำไปสู่การพัฒนาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในการวินิจฉัย และรักษาโรคมะเร็งชนิดนี้

หลอดเลือดที่ออกมาจากหิ้ง

หลอดเลือดสำเร็จรูปที่ศัลยแพทย์สามารถยกออกมาจากหิ้งและนำไปปลูกถ่ายให้คนใข้อาจจะไม่ใช่เรื่องที่ไกลเกิดจริง นักวิจัยมีรายงานเมื่อเร็วๆนี้ ที่ นิตยสาร Science Translational Medicine เกี่ยวกับวิธีใหม่ที่จะใช้เซลล์ของมนุษย์ในการสร้างหลอดเลือดที่สามารถทำงานได้ในคนโดยไม่มีการต่อต้านจากระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย

เทคนิคการถ่ายภาพแบบใหม่ ที่สามารถติดตามโรคในสมองระดับลึกได้

กวิจัยได้พัฒนาเทคนิคใหม่สำหรับการติดตามดูสมองในระดับลึกของหนูเพื่อดูการทำงานของประสาทแบบในเวลาจริง วิธีการซึ่งแตกต่างจากวิธีมาตรฐานช่วยให้สามารถติดตามตำแหน่งเดียวกันในสมองได้นานเป็นเดือน ทำให้ได้ข้อมูลใหม่ๆในโรคมะเร็ง โรคทางด้านประสาท หรือปัจจัยที่จะทำให้เกิดอาการบาดเจ็บ

6 เว็บไซต์ แสดงภาพร่างกายมนุษย์ สำหรับเรียน Anatomy

ก่อนหน้านี้ได้นำเสนอ Google Body Browser เว็บไซต์ที่แสดง anatomy แบบ 3 มิติ นอกจากเว็บไซต์ดังกล่าวนี้ ยังมีเว็บอื่นๆที่แสดงสรีระของมนุษย์ ในลักษณะที่คล้ายกัน อีก 5 เว็บไซต์ที่อยากจะนำเสนอให้ได้ทดลองใช้งาน น่าจะเป็นประโยชน์กับผู้ที่กำลังศึกษาหาความรู้

คณะแพทย์ จุฬาฯ จัดประกวดภาพถ่าย “ภาพแห่งชีวิต” ชิงถ้วยพระราชทาน

คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้จัดการประกวดภาพถ่าย "ภาพแห่งชีวิต" ครั้งที่ 3 "Image of Life" The 3rd Photo Contest ชิงถ้วยพระราชทาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ในปีนี้ได้จัดภายใต้กรอบแนวคิดให้สื่อถึง "การพัฒนาคุณภาพชีวิต"

เทโลเมอร์เรส ย้อนอายุ

จาการศึกษาในหนูพบว่า การแก่ก่อนวัยสามารถย้อนกลับเป็นหนุ่มสาวอีกครั้งได้จากเอ็นไซม์ที่ช่วยปกป้องปลายของโครโมโซม หนูที่ถูกดัดแปลงพันธุกรรมเพื่อไม่ให้มีเอ็นไซม์ที่ชื่อว่า เทโลเมอร์เรส ซึ่งทำให้มันแก่ก่อนวัยอันควร แต่ว่ามันกลับมามีสุขภาพดีอีกครั้งหนึ่ง เมื่อเอ็นไซม์ตัวนี้กลับมา

หัวข้อต่างๆ ในงาน BME CONCEPT

หัวข้อต่างๆที่จะมีการนำเสนอในงาน BME CONCEPT ครับ มีเรื่องน่าสนใจมากมาย ใครสนใจ สามารถเข้าร่วมงานได้เลยนะครับ เปิดลงทะเบียนตั้งแต่ 8.00 น. ที่ห้อง 203 ตึก 1 คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
- Advertisement -

Editor Picks